04 กันยายน 2567
77
คนสูงวัยไทย จะเพิ่มถึง 28% ใน 5 ปีข้างหน้า สู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด
ข้อมูลจากศูนย์วิจัยกสิกรไทย หรือ KResearch ระบุว่า ตอนนี้ประเทศไทยมีผู้สูงวัย 13 ล้านคน คิดเป็น 20% ของประชากรไทยแล้ว และในอีก 5 ปี ผู้สูงอายุพุ่งเป็น 28% หรือประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” หรือ Super-aged Society
.
ปัจจุบันจะพบว่า ภาคที่มีผู้สูงอายุมากสุด คือภาคอีสาน 4.2 ล้านคน (19.1%) ตามด้วยภาคกลาง 3.4 ล้านคน (19.7%), ภาคเหนือ 2.7 ล้านคน (22.8%), ภาคใต้ 1.8 ล้านคน (17.1%) และกรุงเทพ 1.3 ล้านคน (22.9%)
.
สัดส่วนประชากรไทยในปี 2566 พบว่า ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมี 20% วัยแรงงานมีอายุระหว่าง 15-59 ปี มี 64.4% และวัยเด็กมีอายุระหว่าง 0-14 ปี มี 15.6%
.
ขณะเดียวกัน ถ้าจัดอันดับรายจังหวัดจะพบว่า 5 จังหวัดที่มีผู้สูงอายุมากสุด ได้แก่
.
KResearch ระบุว่า เมื่อจำนวนผู้สูงวัยเพิ่มขึ้น ทำให้ประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะต้องจับตา 3 ประเด็น ได้แก่
.
.
ปัจจุบันจะพบว่า ภาคที่มีผู้สูงอายุมากสุด คือภาคอีสาน 4.2 ล้านคน (19.1%) ตามด้วยภาคกลาง 3.4 ล้านคน (19.7%), ภาคเหนือ 2.7 ล้านคน (22.8%), ภาคใต้ 1.8 ล้านคน (17.1%) และกรุงเทพ 1.3 ล้านคน (22.9%)
.
สัดส่วนประชากรไทยในปี 2566 พบว่า ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมี 20% วัยแรงงานมีอายุระหว่าง 15-59 ปี มี 64.4% และวัยเด็กมีอายุระหว่าง 0-14 ปี มี 15.6%
.
ขณะเดียวกัน ถ้าจัดอันดับรายจังหวัดจะพบว่า 5 จังหวัดที่มีผู้สูงอายุมากสุด ได้แก่
.
1. กรุงเทพ
2. นครราชสีมา
3. เชียงใหม่
4. ขอนแก่น
5. อุดรธานี
.KResearch ระบุว่า เมื่อจำนวนผู้สูงวัยเพิ่มขึ้น ทำให้ประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะต้องจับตา 3 ประเด็น ได้แก่
.
1. การขาดแคลนแรงงาน ส่งผลให้ต้นทุนธุรกิจสูงขึ้น
2. การบริโภคภายในประเทศที่ลดลง จากรายได้ผู้สูงวัยที่ลดลง และ
3. ภาระทางการคลังที่เพิ่มขึ้นจากเบี้ยผู้สูงวัยและสวัสดิการด้านสุขภาพ